<<<                >>>

บทที่ ๙

 

สัททปทมาลา

 

      สัททปทมาลา คือวิธีรวมการจำแนกนามศัพท์ด้วยวิภัตติ ๑๔ ตัว (ถ้านับอาลปนะด้วยเป็น ๑๖ ตัว) มาไว้เพื่อให้เห็นรูปศัพท์และเนื้อความที่แตกต่างกัน มีเป็นประโยชน์ต่อการสัมพันธ์เนื้อความเข้ากับศัพท์อื่น โดยจะจำแนกไปตามลำดับลิงค์และการันต์ นามศัพท์ที่เป็นลิงค์และการันต์เดียวกัน มีการจำแนกเป็นแบบเดียวกัน ซึ่งจะง่ายต่อการกำหนดรู้

 

    ศัพท์ที่สามารถนำมาจำแนกด้วยนามวิภัตติได้นั้น มี ๗ ประเภท คือ สุทธนาม คุณนาม สัพพนาม สังขยานาม สมาสนาม ตัทธิตนาม และกิตกนาม

 

    ส่วนศัพท์จำพวกอุปสัคและนิบาต แม้จะประกอบอรรถของวิภัตติได้ก็ประกอบได้เฉพาะบางอรรถ จึงจะไม่นำมาจำแนกให้เห็นเป็นตัวอย่าง เมื่อเรียนไปถึงอุปสัคและนิบาต ในบทที่ ๑๑ ก็จะสามารถเข้าใจได้โดยไม่ยาก

    ต่อไปจะยกตัวอย่างการจำแนกนามศัพท์ทั้ง ๗ ประเภท โดยวิภัตติไป ตามลำดับลิงค์และการันต์

 

                               ปุงลิงค์

 

         (๑) ปุงลิงค์ อการันต์ ปุริสสัททปทมาลา (บุรุษ, ชาย)

 

วิภัตติ  เอกวจนะ พหุวจะ
ปฐมา  ปุริโส
ปุริสา
อาลปนะ          ปุริส ปุริสา
ปุริสา
ทุติยา  ปุริสํ ปุริเส
ตติยา  ปุริเสน ปุริเสหิ ปุริเสภิ   
จตุตถี  ปุริสสฺส (ปุริสาย ปุริสตฺถํ)*           ปุริสานํ
ปัญจมี  ปุริสา ปุริสมฺหา ปุริสสฺมา ปุริเสหิ ปุริเสภิ
ฉัฏฐี  ปุริสสฺส ปุริสานํ
สัตตมี  ปุริเส ปุริสมฺหิ ปุริสสฺมึ ปุริเสสุ

* รูปว่า ปุริสาย ปุริสตฺถํ มีใช้ในอรรถ ตุํ ปัจจัย แปลว่า "เพื่อ" เท่านั้น

 

                             ศัพท์จำแนกตาม

พุทฺธ        
    พระพุทธเจ้า             ธมฺม    พระธรรม   
สํฆ (สงฺฆ)       พระสงฆ์ โลก โลก
อาจริ    อาจารย์ มนุสฺส         มนุษย์
นร    คน สกุณ นก
ทารก    เด็กชาย รุกฺข ต้นไม้
ปมาท    ความประมาท จาค การสละ
โลภ    ความโลภ โทส ความโกรธ
โมห    ความหลง คาม หมู่บ้าน      เป็นต้น

 

         (๒) ปุงลิงค์ อการันต์ มนสัททปทมาลา (ใจ)

 

วิภัตติ             เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา มโน มนา
อาลปนะ มน มนา มนา
ทุติยา มนํ มเน
ตติยา มนสา มเนน   มเนหิ มเนภิ
จตุตถี มนโส มนสฺส มนานํ
ปัญจมี มนา มนมฺหา มนสฺมา    มเนหิ มเนภิ      
ฉัฏฐี มนโส มนสฺส มนานํ
สัตตมี มนสิ มเน มนมฺหิ มนสฺมึ      มเนสุ

 

                           ศัพท์จำแนกตาม

 

มโน   วโจ   วโย   เตโช      ตโป   เจโต   ตโม   ยโส

อโย   ปโย   สิโร   ฉนฺโท     สโร   อุโร    รโห    อโห.

 

ใจ     วาจา    วัย     เดช        ตบะ    ใจ  ความมืด  ยศ

เหล็ก น้ำนม  ศีรษา  ฉันท์     สระน้ำ  อก    ที่ลับ    วัน

 

 

        (๓) ปุงลิงค์ อการันต์ คจฺฉนฺตสัททปทมาลา (ผู้ไปอยู่)

 

วิภัตติ         เอกวจนะ                           พหุวจนะ                      
ปฐมา คจฺฉํ คจฺฉนฺโต คจฺฉนฺโต คจฺฉนฺตา
อาลปนะ คจฺฉํ คจฺฉ คจฺฉา คจฺฉนฺโต คจฺฉนฺตา
ทุติยา คจฺฉนฺตํ คจฺฉนฺเต
ตติยา คจฺฉตา คจฺฉนฺเตน คจฺฉนฺเตหิ คจฺฉนฺเตภิ
จตุตถี คจฺฉโต คจฺฉนฺตสฺส คจฺฉตํ คจฺฉนฺตานํ
ปัญจมี

คจฺฉตา คจฺฉนฺตา คจฺฉนฺตมฺหา

คจฺฉนฺตสฺมา

คจฺฉนฺเตหิ คจฺฉนฺเตภิ
ฉัฏฐี คจฺฉโต คจฺฉนฺตสฺส คจฺฉตํ คจฺฉนฺตานํ
สัตตมี

คจฺฉติ คจฺฉนฺเต คจฺฉนฺตมฺหิ

คจฺฉนฺตสมึ

คจฺฉนฺเตสุ

 

                               ศัพท์จำแนกตาม

 

 คจฺฉํ      มหํ      จรํ      ติฏฺฐํ        ททํ     ภุญฺชํ     สุณํ     ปจํ

 ชยํ        ชีรํ      วจํ       มียํ          สรํ       กุพฺพํ     ชปํ      วชํ.

 

ผู้ไป ผู้ประเสริฐ ผู้เที่ยวไป ผู้ยืน    ผู้ให้    ผู้บริโภค   ผู้ฟัง    ผู้หุง

ผู้ชนะ ผู้ชรา     ผู้กล่าว   ผู้ตาย    ผู้คิดถึง  ผู้กระทำ   ผู้สวด  ผู้ไป

 

 

          (๔) ปุงลิงค์ อการันต์ ภวนฺตสัททปทมาลา (ผู้เจริญ)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                         หพุวจนะ                            
ปฐมา ภวํ โภนฺโต ภวนฺโต ภวนฺตา
อาลปนะ โภ ภนฺเต โภนฺต โภนฺตา โภนฺโต ภวนฺโต ภวนฺตา
ทุติยา ภวนฺตํ โภนฺเต ภวนฺเต
ตติยา โภตา ภวตา ภวนฺเตน ภวนฺเตหิ ภวนฺเตภิ
จตุตถี โภโต ภวโต ภวนฺตสฺส ภวตํ ภวนฺตานํ
ปัญจมี

ภวตา ภวนฺตา ภวนฺตมฺหา

ภวนฺตสฺมา

ภวนฺเตหิ ภวนฺเตภิ
ฉัฏฐี โภโต ภวโต ภวนฺตสฺส ภวตํ ภวนฺตานํ
สัตตมี

ภวนติ ภวนฺเต ภวนฺตมฺหิ

ภวนฺตสฺมึ

ภวนฺเตสุ

 

 

        (๕) ปุงลิงค์ อการันต์ ภทนฺตสัททปทมาลา (ผู้เจริญ)

 

วิภัตติ           เอกวจนะ                           พหุวจนะ                          
ปฐมา ภทนฺโต ภทนฺตา
อาลปนะ

ภนฺเต ภทฺทนฺต ภทฺทนฺเต

ภทนฺต ภทนฺตา

ภนฺเต ภทฺทนฺตา ภทนฺตา
ที่เหลือจำแนกเหมือน ปุริส ศัพท์

 

 

    (๖) ปุงลิงค์ อการันต์ สนฺตสัททปทมาลา (สัตบุรุษ)

 

วิภัตติ          เอกวจนะ                                   พหุวจนะ                        
ปฐมา สํ สนฺโต สนฺโต สนฺตา
อาลปนะ สํ ส สา สนฺโต สนฺตา
ทุติยา สนฺตํ สนฺเต
ตติยา สตา สนฺเตน สนฺเตหิ สพฺภิ
จตุตถี สโต สนฺตสฺส สตํ สนฺตานํ
ปัญจมี สตา สนฺตา สนฺตมฺหา สนฺตสฺมา สนฺเตหิ สพฺภิ
ฉัฏฐี สโต สนฺตสฺส สตํ สนฺตานํ
สัตตมี สติ สนฺเต สนฺตมฺหิ สนฺตสฺมึ สนฺเตสุ

 

 

    (๗) ปุงลิงค์ อการันต์ ราชสัททปทมาลา (พระราชา)

 

วิภัตติ           เอกวจนะ                 พหุวจนะ                                     
ปฐมา ราชา ราชาโน
อาลปนะ ราช ราชาโน
ทุติยา ราชานํ ราชํ ราชาโน
ตติยา รญฺญา ราชูหิ ราชูภิ ราเชหิ ราเชภิ
จตุตถี รญฺโญ ราชิโน รญฺญํ ราชูนํ ราชานํ
ปัญจมี รญฺญา ราชูหิ ราชูภิ ราเชหิ ราเชภิ
ฉัฏฐี รญฺโญ ราชิโน รญฺญํ ราชูนํ ราชานํ
สัตตมี รญฺเญ ราชินิ ราชูสุ ราเชสุ

 

 

    (๘) ปุงลิงค์ อการันต์ มหาราชสัททปทมาลา (พระมหาราชา)

 

วิภัตติ         เอกวจนะ                            พหุวจนะ                             
ปฐมา มหาราชา มหาราชาโน
อาลปนะ มหาราช มหาราชาโน
ทุติยา มหาราชํ มหาราเช
ตติยา มหาราเชน มหาราเชหิ มหาราเชภิ
จตุตถี มหาราชสฺส มหาราชานํ
ปัญจมี

มหาราชา มหาราชมฺหา

มหาราชสฺมา

มหาราเชหิ มหาราเชภิ
ฉัฏฐี มหาราชสฺส มหาราชานํ
สัตตมี มหาราชสฺมึ มหาราเชสุ

 

             ศัพท์จำแนกตาม

 

เทวราช   เทวราช, เทพเจ้า      นาคราช  พญานาค

มิคราช    พญาเนื้อ                  หํสราช   พญาหงส์

สีหราช    ราชสีห์                    

 

      ศัพท์เหล่านี้สามารถจำแนกตาม ราช ศัพท์ได้ด้วย

 

 

    (๙) ปุงลิงค์ อการันต์ อตฺตสัททปทมาลา (ตน)

 

วิภัตติ         เอกวจนะ                    พหุวจนะ                       
ปฐมา อตฺตา อตฺตาโน
อาลปนะ อตฺต อตฺตาโน
ทุติยา อตฺตานํ อตฺตํ อตฺตาโน
ตติยา อตฺตนา อตฺเตน อตฺตเนหิ อตฺตเนภิ
จตุตถี อตฺตโน อตฺตานํ
ปัญจมี อตฺตนา อตฺตเนหิ อตฺตเนภิ
ฉัฏฐี อตฺตโน อตฺตานํ
สัตตมี อตฺตนิ อตฺเตสุ

 

    อตฺต ศัพท์ที่ใช้ในรูปเอกวจนะเป็นส่วนมาก บางที่ท่านใช้เอกวจนะควบกัน ๒ ตัวเป็นพหุวจนะ เช่น อตฺตโน อตฺตโน ของตน ๆ เป็นต้น

 

 

    (๑๐) ปุงลิงค์ อการันต์ พฺรหฺมสัททปทมาลา (พรหม)

 

วิภัตติ         เอกวจนะ                         พหุวจนะ                      
ปฐมา พฺรหฺมา พฺรหฺมาโน
อาลปนะ พฺรหฺเม พฺรหฺมาโน
ทุติยา พฺรหฺมานํ พฺรหฺมาโน
ตติยา พฺรหฺมุนา พฺรหฺเมหิ พฺรหฺเมภิ
จตุตถี พฺรหฺมุโน พฺรหมานํ
ปัญจมี พฺรหฺมุนา พฺรหฺเมหิ พฺรหฺเมภิ
ฉัฏฐี พฺรหฺมุโน พฺรหฺมานํ
สัตตมี พฺรหฺมนิ พฺรหฺเมสุ

 

          ศัพท์จำแนกตาม

 

มุนิ        พระมุนี               อิสิ       ฤาษี

มณิ       แก้วมณี              นิธิ       ขุมทรัพย์

สมาธิ    สมาธิ                  คิริ       ภูเขา

กวิ         นักกวี                 สารถิ   คนขับรถ

อญฺชลิ   พนมมือ              อหิ       งู

อริ         ข้าศึก                 วิธิ        วิธีการ

ปติ        ผู้ปกครอง           อธิปติ   ผู้เป็นใหญ่

คหปติ   คฤหบดี, เจ้าของเรือน  อสิ ดาบ

 

 

    ปุงลิงค์ อีการันต์ ทณฺฑีสัททปทมาลา (ผู้มีไม้เท้า)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                               พหุวจนะ                             
ปฐมา ทณฺฑี ทณฺฑี ทณฺฑิโน
อาลปนะ ทณฺฑิ ทณฺฑี ทณฺฑิโน
ทุติยา ทณฺฑินํ ทณฺฑึ ทณฺฑี ทณฺฑิโน
ตติยา ทณฺฑินา ทณฺฑีหิ ทณฺฑีภิ
จตุตถี ทณฺฑิโน ทณฺฑิสฺส ทณฺฑีนํ
ปัญจมี ทณฺฑินา ทณฺฑิมฺหา ทณฺฑิสฺมา   ทณฺฑีหิ ทณฺฑีภิ
ฉัฏฐี ทณฺฑิโน ทณฺฑิสฺส ทณฺฑีนํ
สัตตมี ทณฺฑินิ ทณฺฑิมฺหิ ทณฺฑิสฺมึ ทณฺฑีสุ

 

            ศัพท์จำแนกตาม

 

เมธาวี    ผู้มีปัญญา               ธมฺมี    ผู้มีธรรม

หตฺถี      ช้าง, หัตถี, ผู้มีงวง    โยคี    ผู้มีความเพียร

ญาณี    ผู้มีญาณ                  จกฺกี    ผู้มีจักร

ปกฺขี      นก, ปักษี, ผู้มีปีก      ทุกฺขี   ผู้มีความทุกข์

ทาฐี       ผู้มีเขี้ยว                  รฏฺฐี    ผู้มีแว่นแคว้น

ฉตฺตี      ผู้มีร่ม                      มาลี    ผู้มีดอกไม้

ภาคี       ผู้มีส่วน                   โภคี    ผู้มีทรัพย์

สามี       สามี, เจ้าของ           สสี      ดวงจันทร์

สุขี        ผู้มีความสุข              ธมฺมจารี ผู้ประพฤติธรรม

 

 

        (๑) ปุงลิงค์ อุการันต์ ภิกฺขุสัททปทมาลา (ภิกษุ)

 

วิภัตติ         เอกวจนะ                      พหุวจนะ                                 
ปฐมา ภิกฺขุ ภิกฺขู ภิกฺขโว
อาลปนะ ภิกฺขุ ภิกฺขู ภิกฺขเว ภิกฺขโว
ทุติยา ภิกฺขุํ ภิกฺขู ภิกฺขโว
ตติยา ภิกฺขุนา ภิกฺขูหิ ภิกฺขูภิ ภิกฺขุหิ ภิกฺขุภิ
จตุตถี ภิกฺขุโน ภิกฺขุสฺส ภิกฺขุนํ ภิกฺขุนํ
ปัญจมี ภิกฺขุนา ภิกฺขุมฺหา ภิกฺขุสฺมา   ภิกฺขูหิ ภิกฺขูภิ ภิกฺขุหิ ภิกฺขุภิ
ฉัฏฐี ภิกฺขุโน ภิกฺขุสฺส ภิกฺขูนํ ภิกฺขุนํ
สัตตมี ภิกฺขุมฺหิ ภิกฺขุสมึ ภิกฺขูสุ ภิกฺขุสุ

 

             ศัพท์จำแนกตาม

 

ครุ          ครู                         เหตุ     เหตุ

ชนฺตุ       สัตว์                       เสตุ      สะพาน

เกตุ         เกตุ, ยอด              ราหุ     ราหู

ภานุ        ดวงอาทิตย์, รัศมี     เวฬุ    ไม้ไผ่

มจฺจุ        ความตาย               พนฺธุ    เครือญาติ

เนรุ, เมรุ ภูเขาพระสุเมรุ          อุจฺฉุ    อ้อย

สินฺธุ        แม่น้ำสินธุ              สตฺตุ    ศัตรู

การุ         นายช่าง                 รุรุ       กวางรุรุ

ปงฺคุ        คนเปลี้ย                 ปฏุ      คนฉลาด

 

 

    (๒) ปุงลิงค์ อุการันต์ สตฺถุสัททปทมาลา (พระศาสดา)

 

วิภัตติ             เอกวจนะ                  พหุวจนะ                            
ปฐมา สตฺถา สตฺถาโร
อาลปนะ สตฺถ สตฺถา สตฺถาโร
ทุติยา สตฺถารํ สตฺถาเร สตฺถาโร
ตติยา สตฺถารา สตฺถุนา สตฺถาเรหิ สตฺถาเรภิ
จตุตถี สตฺถุ สตฺถุโน สตฺถารานํ สตฺถานํ
ปัญจมี สตฺถารา สตฺถาเรหิ สตฺถาเรภิ
ฉัฏฐี สตฺถุ สตฺถุโน สตฺถารานํ สตฺถานํ
สัตตมี สตฺถริ สตฺถาเรสุ

 

          ศัพท์จำแนกตาม

 

กตฺตุ      ผู้กระทำ          โสตุ       ผู้ฟัง, ผู้เรียน

เนตุ       ผู้นำไป            ญาตุ      ผู้รู้

ทาตุ       ผู้ให้               ธาตุ        ผู้ทรงไว้

นตฺตุ      หลาน              เภตฺตุ     ผู้ทำลาย

เฉตฺตุ     ผู้ตัด               วตฺตุ        ผู้กล่าว

ภตฺตุ      ผู้เลี้ยง, สามี     เชตุ        ผู้ชนะ

โพทฺธุ    ผู้รู้                   วิญฺญาเปตุ ผู้ให้รู้

กาเรตุ    ผู้ให้ทำ            สาเวตุ    ผู้ให้ฟัง, ผู้ประกาศ

 

 

    (๓) ปุงลิงค์ อุการันต์ ปิตุสัททปทมาลา (บิดา)

 

วิภัตติ          เอกวจนะ               พหุวจนะ                                
ปฐมา ปิตา ปิตโร
อาลปนะ ปิต ปิตา ปิตโร
ทุติยา ปิตรํ ปิตโร
ตติยา ปิตรา ปิตุนา ปิตเรหิ ปิตเรภิ ปิตูหิ ปิตูภิ ปิตุหิ ปิตุภิ  
จตุตถี ปิตุ ปิตุโน ปิตุสฺส ปิตรานํ ปิตานํ ปิตูนํ ปิตุนํ
ปัญจมี ปิตรา ปิตเรหิ ปิตเรภิ ปิตูหิ ปิตูภิ ปิตุหิ ปิตุภิ
ฉัฏฐี ปิตุ ปิตุโน ปิตุสฺส ปิตรานํ ปิตานํ ปิตูนํ ปิตุนํ
สัตตมี ปิตริ ปิตเรสุ ปิตูสุ ปิตุสุ

 

            ศัพท์จำแนกตาม

 

ภาตุ    พี่น้องชาย 

 

 

    (๔) ปุงลิงค์ อุการันต์ คุณวนฺตุสัททปทมาลา (ผู้มีคุณ)

 

วิภัตติ      เอกวจนะ                         พหุวจนะ                                 
ปฐมา คุณวา คุณวนฺโต คุณวนฺตา
อาลปนะ คุณวํ คุณว คุณวา คุณวนฺโต คุณวนฺตา
ทุติยา คุณวนฺตํ คุณวนฺเต
ตติยา คุณวตา คุณวนฺเตน คุณวนฺเตหิ คุณวนฺเตภิ
จตุตถี คุณวโต คุณวนฺตสฺส คุณวตํ คุณวนฺตานํ
ปัญจมี

คุณวตา คุณวนฺตา คุณวนฺตมฺหา

คุณวนฺตสฺมา

คุณวนฺเตหิ คุณวนฺเตภิ
ฉัฏฐี

คุณวโต คุณวนฺตสฺส

คุณวตํ คุณวนฺตานํ
สัตตมี

คุณวติ คุณวนฺเต คุณวนฺตมฺหิ

คุณวนฺตสฺมึ

คุณวนฺเตสุ

 

            ศัพท์จำแนกตาม

 

คณวนฺตุ    ผู้มีคณะ                  กุลวนฺตุ    ผู้มีตระกูลดี

ผลวนฺตุ     ต้นไม้มีผล               ยสวนฺตุ    ผู้มียศ

ธนวนฺตุ      ผู้มีทรัพย์                สุตวนฺตุ    ผู้มีการศีกษา

ภควนฺตุ   พระพุทธเจ้า, ผู้มีโชค หิมวนฺตุ    ภูเขาหิมาลัย

พลวนฺตุ     ผู้มีกำลัง                  สีลวนฺตุ    ผู้มีศีล

ปญฺญวนฺตุ  ผู้มีปัญญา               สติมนฺตุ   ผู้มีสติ

ฐิติมนฺตุ      ผู้มีความมั่นคง         คติมนฺตุ    ผู้มีปัญญา

มติมนฺตุ      ผู้มีปัญญา               มุติมนฺตุ    ผู้มีปัญญา

มุตติมนฺตุ    ผู้มีความหลุดพ้น     ชุติมนฺตุ    ผู้มีรัศมี

สิริมนฺตุ       ผู้มีสิริ                     กลิมนฺตุ     ผู้มีโทษ

หิริมนฺตุ       ผู้มีความละอาย       ถุติมนฺตุ    ผู้ได้รับยกย่อง

ยติมนฺตุ      ผู้มีความเพียร          สุจิมนฺตุ     ผู้สะอาด

พลิมนฺตุ      ผู้มีพลีกรรม             กสิมนฺตุ     ชาวนา

รุจิมนฺตุ       ผู้มีความยินดี           จกฺขุมนฺตุ   ผู้มีจักษุ

 

 

    (๑) ปุงลิงค์ อูการันต์ อภิภูสัททปทมาลา (ผู้เป็นใหญ่)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                         พหุวจนะ                                
ปฐมา อภิภู อภิภู อภิภุโว
อาลปนะ อภิภุ อภิภู อภิภุโว
ทุติยา อภิภุํ อภิภู อภิภุโว
ตติยา อภิภุนา อภิภูหิ อภิภูภิ
จตุตถี อภิภุโน อภิภุสฺส อภิภูนํ
ปัญจมี อภิภุนา อภิภุมฺหา อภิภุสฺมา   อภิภูหิ อภิภูภิ
ฉัฏฐี อภิภุโน อภิภุสฺส อภิภูนํ
สัตตมี อภิภุมฺหิ อภิภุสฺมึ อภิภูสุ

 

                   ศัพท์จำแนกตาม

 

สยมฺภู   พระสยัมภู, ผู้ตรัสรู้เอง       ปราภิภู   ผู้ปกครองผู้อื่น

เวสฺสภู   พระเวสสภูพุทธเจ้า

 

 

     (๒) ปุงลิงค์ อูการันต์ สพฺพญฺญูปทมาลา (ผู้รู้ทุกสิ่ง)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                      พหุวจนะ                             
ปฐมา สพฺพญฺญู สพฺพญฺญู สพฺพญฺญุโน
อาลปนะ สพฺพญฺญุ สพฺพญฺญู สพฺพญฺญุโน
ทุติยา สพฺพญฺญุ สพฺพญฺญู สพฺพญฺญุโน
               ที่เหลือแจกตาม อภิภู ศัพท์

 

               ศัพท์จำแนกตาม

 

กตญฺญู     ผู้กตัญญู             ปารคู   ผู้ถึงฝั่ง

ธมฺมญฺญู   ผู้รู้ธรรม              มคฺคญฺญู  ผู้รู้ทาง

อตฺถญฺญู   ผู้รู้ประโยชน์       กาลญฺญู   ผู้รู้กาลเวลา

รตฺตญฺญู   ผู้รู้ราตรี              มตฺตญฺญู   ผู้รู้ประมาณ

วิญฺญู        ผู้รู้                      ตถญฺญู    ผู้รู้ความจริง

โลกวิทู      ผู้รู้แจ้งโลก         อนฺตคู       ผู้ถึงที่สุด

 

 

       ปุงลิงค์ โอการันต์  โคสัททปทมาลา  (วัว, โค)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                     พหุวจนะ                             
ปฐมา โค คาโว คโว
อาลปนะ โค คาโว คโว
ทุติยา คาวุํ คาวํ ควํ คาโว คโว
ตติยา คาเวน คเวน โคหิ โคภิ
จตุตถี คาวสฺส ควสฺส ควํ คุนฺนํ โคนํ
ปัญจมี

คาวา คาวมฺหา คาวสฺมา

ควา ควมฺหา ควสฺมา

โคหิ โคภิ
ฉัฏฐี คาวสฺส ควสฺส ควํ คุนฺนํ โคนํ
สัตตมี

คาเว คาวมฺหิ คาวสฺมึ

คเว ควมฺหิ ควสฺมึ

คาเวสุ คเวสุ โคสุ

 

                     อิตถีลิงค์

 


    อิตถีลิงค์ อาการันต์ กญฺญาสัททปทมาลา (สาวน้อย)

 

วิภัตติ       
เอกวจนะ                      
พหุวจนะ                           
ปฐมา กญฺญา กญฺญา กญฺญาโย
อาลปนะ กญฺเญ กญฺญา กญฺญาโย
ทุติยา กญฺญํ กญฺญา กญฺญาโย
ตติยา กญฺญาย กญฺญาหิ กญฺญาภิ
จตุตถี กญฺญาย กญฺญานํ
ปัญจมี กญฺญาย กญฺญาหิ กญฺญาภิ
ฉัฏฐี กญฺญาย กญฺญานํ
สัตตมี กญฺญาย กญฺญายํ กญฺญาสุ

 

        ศัพท์จำแนกตาม

 

สทฺธา   ความเชื่อ                  เมธา    ปัญญา

ปญฺญา  ปัญญา                    วิชฺชา   ความรู้

จินฺตา    ความคิด                  มนฺตา   ความคิด

ตณฺหา   ตัณหา, ความอยาก   วีณา    พิณ

อิจฺฉา   ความปรารถนา           มายา    มารยา

เมตฺตา  เมตตา                      มตฺตา   มาตรา, ประมาณ

สิกฺขา   ข้อควรศึกษา             ภิกฺขา   ข้าว

คีวา      คอ                           ชิวฺหา    ลิ้น

วาจา    คำพูด                       ฉายา    ร่มเงา

คงฺคา   แม่น้ำ                        นาวา    เรือ

คาถา   คาถา                        เลขา     รอยเขียน

สาลา    ศาลา                        มาลา    พวงดอกไม้

เวลา     เวลา                         ปูชา      การบูชา

เวทนา   เวทนา                      สญฺญา  สัญญา

เจตนา  เจตนา                       ปชา      หมู่สัตว์

เทวตา  เทวดา                       ปริสา     บริษัท

วิสาชา  นางวิสาขา, ชื่อดาว    สาขา     กิ่งไม้

ชฎา     ชฎา                          กรุณา    กรุณา

กถา      ถ้อยคำ                     ปปา       ศาลาน้ำดื่ม

ปภา      รัศมี, แสงสว่าง          สีมา       ขอบเขต

ขมา      ความอดทน               ชายา    ภรรยา

สุรา       เหล้า, สุรา                 ตุลา       ตราชั่ง

สิลา      ก้อนหิน                      ลีลา       ท่าทาง

กลา      ส่วน (เสี้ยว)                วสุธา     แผ่นดิน

อจฺฉรา   นางอัปสร                  คุหา      ถ้ำ

ลสิกา    ไขข้อ                        ชุณฺหา   แสงจันทร์

อีหา       ความพยายาม           นาสา      จมูก

ทิสา       ทิศ                           มญฺชุสา  หีบ

ลาลา     น้ำลาย                      มูสา        เบ้า

โทลา     ชิงช้า                        ขตฺติยา   กษัตรี

วาสนา   วาสนา                      สุธา         อาหารทิพย์

นิทฺทา    การหลับ                   ลตา         เถาวัลย์

วิสิขา     ถนน, ซอย                สิขา         ยอด

สภา       ที่ประชุม                   โคธา       เหี้ย

 

 

    อิตถีลิงค์ อิการันต์ รตฺติสัททปทมาลา (ราตรี)

 

วิภัตติ          เอกวจนะ                    พหุวจนะ                      
ปฐมา รตฺติ รตฺตี รตฺติโย รตฺโย
อาลปนะ รตฺติ รตฺตี รตฺติโย
ทุติยา รตฺตึ รตฺตี รตฺติโย
ตติยา รตฺติยา รตฺตีหิ รตฺตีภิ รตฺติหิ รตฺติภิ  
จตุตถี รตฺติยา รตฺตีนํ รตฺตินํ
ปัญจมี รตฺติยา รตฺยา รตฺตีหิ รตฺตีภิ รตฺติหิ รตฺติภิ
ฉัฏฐี รตฺติยา รตฺตีนํ รตฺตินํ
สัตตมี

รตฺยํ รตฺติยํ รตฺยา

รตฺติยา รตฺตึ รตฺโต

รตฺตีสุ รตฺติสุ

 

          ศัพท์จำแนกตาม

 

    ศัพท์จำแนกตามต่อไปนี้ให้เว้นรูปว่า รตฺโย (ปฐมาพหุ) รตฺยา (ปัญจมี-สัตตมีเอกะ) รตฺยํ รตฺตึ รตฺโต (สัตตมีเอกะ)

 

ปตฺติ   ทหารบก                ยุตฺติ   ความสมควร

วุตฺติ   คำอธิบาย               กิตฺติ   เกียรติ, ชื่อเสียง

มุตฺติ   ความหลุดพ้น         ขนฺติ   ความอดทน

กนฺติ   ความชอบใจ           สนฺติ   ความสงบ

ตนฺติ   แบบแผน                สิทฺธิ   ความสำเร็จ

สุทฺธิ   ความบริสุทธิ์           อิทฺธิ   ความสำเร็จ

วุทฺธิ   ความเจริญ              พุทฺธิ   ปัญญา

โพธิ   โพธิญาณ                ภูมิ      แผ่นดิน

ชาติ   ชาติ, การเกิด           ปีติ     ปิติ

สูติ     การเกิด                   สาณิ   ผ้าม่าน

นนฺทิ   ความเพลิดเพลิน     ทิฏฺฐิ   ความเห็น

วุฑฺฒิ  ความเจริญ              ปาฬิ   บาลี

ตุฏฺฐิ   ความยินดี                นาฬิ   ทะนาน, กระดอง

เกฬิ    กีฬา, การเล่น          สติ      ความระลึก

มติ     ความรู้                     คติ      การไป

จุติ      ความตาย                ธิติ      ความเพียร

ยุวติ    ผู้หญิง                    รติ       ความพอใจ

รุจิ, รสฺมิ รัศมี                     อสนิ    สายฟ้าผ่า

ธูลิ      ธุลี, ฝุ่น                   องฺคุลิ   นิ้ว

 

 

        อิตถีลิงค์ อีการันต์ อิตฺถีสัททปทมาลา (หญิง, สตรี)

 

วิภัตติ      เอกวจนะ                        พหุวจนะ                                   
ปฐมา อิตฺถี อิตฺถี อิตฺถิโย
อาลปนะ อิตฺถิ อิตฺถี อิตฺถิโย
ทุติยา อิตฺถิยํ อิตฺถึ อิตฺถี อิตฺถิโย
ตติยา อิตฺถิยา อิตฺถีหิ อิตฺถีภิ
จตุตถี อิตฺถิยา อิตฺถีนํ
ปัญจมี อิตฺถิยา อิตฺถีหิ อิตฺถีภิ
ฉัฏฐี อิตฺถิยา อิตฺถีนํ
สัตตมี อิตฺถิยา อิตฺถิยํ อิตฺถีสุ

 

                      ศัพท์จำแนกตาม

 

มหี      แผ่นดิน                   วาปี       สระน้ำ

ปาฏลี  ต้นแคฝอย               กทลี     ต้นกล้วย

ฆฏี      หม้อน้ำ                   นารี       ผู้หญิง

กุมารี   เด็กหญิง                 ตรุณี     หญิงสาว

พฺราหฺมณี นางพราหมณี      สขี        เพื่อนหญิง

กินฺนรี  กินนรี                      นาคี      นางนาค

เทวี      เทพธิดา, มเหสี        ยกฺขี     นางยักษ์

กากี     อีกา                        กุกฺกุฏี   แม่ไก่

ปุถวี, ปถวี แผ่นดิน              คาวี       แม่โค

คุณวตี   หญิงมีคุณ              สีลวตี   หญิงมีศีล

กุลวตี    หญิงมีตระกูล          ยสวตี   หญิงมียศ

รูปวตี     หญิงรูปงาม            สติมตี   หญิงมีสติ

โคตมี    นางโคตมี               ภิกฺขุนี   ภิกษุณี

คหปตานี แม่บ้าน                ยกฺขินี    นางยักษ์

เมธาวินี   หญิงมีปัญญา        ปิยภาณินี หญิงพูดจาไพเราะ

ธมฺมจารินี หญิงผู้ประพฤติธรรม ภูตวานี หญิงผู้กล่าวตามจริง

อตฺถวาทินี หญิงผู้บอกประโยชน์ ธมฺมวาทินี หญิงผู้บอกธรรม

 

 

        (๑) อิตถีลิงค์ อุการันต์ ยาคุสัททปทมาลา (ข้าวต้ม)

 

วิภัตติ          เอกวจนะ                   พหุวจนะ                           
ปฐมา ยาคุ ยาคู ยาคุโย
อาลปนะ ยาคุ ยาคู ยาคุโย
ทุติยา ยาคุํ ยาคู ยาคุโย
ตติยา ยาคุยา ยาคูหิ ยาคูภิ ยาคุหิ ยาคุภิ    
จตุตถี ยาคุยา ยาคูนํ ยาคุนํ
ปัญจมี ยาคุยา ยาคูหิ ยาคูภิ ยาคุหิ ยาคุภิ
ฉัฏฐี ยาคุยา ยาคูนํ ยาคุนํ
สัตตมี ยาคุยา ยาคุยํ ยาคูสุ ยาคุสุ

 

               ศัพท์จำแนกตาม

 

กาสุ    รู, ช่อง, หลุม, บ่อ               ธาตุ     ธาตุ

เธนุ     แม่โคนม                           ททฺทุ    โรคกลาก

กณฺฑุ  โรคเกลื้อน                        กเรณุ   ช้างพัง

รชฺชุ    เชือก                                สสฺสุ     แม่ยาย

 

 

    (๒) อิตถีลิงค์ อุการันต์ มาตุสัททปทมาลา (มารดา)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ                   พหุวจนะ                     
ปฐมา มาตา มาตโร
อาลปนะ มาต มาตา มาตโร
ทุติยา มาตรํ มาตเร มาตโร
ตติยา มาตรา มาตุยา มตฺยา  

มาตเรหิ มาตเรภิ มาตูหิ มาตูภิ

มาตุหิ มาตุภิ

จตุตถี มาตุ มาตุสฺส มาตุยา มาตรานํ มาตานํ มาตูนํ มาตุนํ
ปัญจมี มาตรา มาตุยา

มาตเรหิ มาตเรภิ มาตูหิ มาตูภิ  

มาตุหิ มาตุภิ

ฉัฏฐี มาตุ มาตุสฺส มาตุยา มาตรานํ มาตานํ มาตูนํ มาตุนํ
สัตตมี มาตริ มาตเรสุ มาตูสุ มาตุสุ

 

             ศัพท์จำแนกตาม

 

             ธีตุ, ทุหิตุ   ลูกสาว

 

 

      อิตถีลิงค์ อูการันต์ ชมฺพูสัททปทมาลา (ต้นหว้า)

 

วิภัตติ      เอกวจนะ                 พหุวจนะ                        
ปฐมา ชมฺพู ชมฺพู ชมฺพุโย
อาลปนะ ชมฺพุ ชมฺพู ชมฺพุโย
ทุติยา ชมฺพุํ ชมฺพู ชมฺพุโย
ตติยา ชมฺพุยา ชมฺพูหิ ชมฺพูภิ
จตุตถี ชมฺพุยา ชมฺพูนํ
ปัญจมี ชมฺพุยา ชมฺพูหิ ชมฺพูภิ
ฉัฏฐี ชมฺพุยา ชมฺพูนํ
สัตตมี ชมฺพุยา ชมฺพุยํ ชมฺพูสุ

 

             ศัพท์จำแนกตาม

 

วธู      หญิงสาว               สรภู     แม่น้ำสรภู

สรพู   ตุ๊กแก, จิ้งจก         จมู        ทหารราบ

สุตนู   หญิงร่างกายงาม    วามูรู    หญิงขางาม

กจฺฉู   โรคหิต                  สุภู       หญิงคิ้วงาม

นาคนาสูรู หญิงขางามเหมือนงวงช้าง

ภู        แผ่นดิน

 

                                 นปุงสกลิงค์

 

 

       (๑) นปุงสกลิงค์ อการันต์ จิตฺตสัททปทมาลา (จิต)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                 พหุวจนะ                       
ปฐมา จิตฺตํ จิตฺตา จิตฺตานิ
อาลปนะ จิตฺต จิตฺตา จิตตานิ
ทุติยา จิตฺตํ จิตฺเต จิตฺตานิ
ตติยา จิตฺเตน จิตฺเตหิ จิตฺเตภิ
จตุตถี จิตฺตสฺส จิตฺตานํ
ปัญจมี จิตฺตา จิตฺตมฺหา จิตฺตสฺมา    จิตฺเตหิ จิตฺเตภิ
ฉัฏฐี จิตฺตสฺส จิตฺตานํ
สัตตมี จิตฺเต จิตฺตมฺหิ จิตฺตสฺมึ จิตฺเตสุ

 

                       ศัพท์จำแนกตาม

ปุญฺญ   
 บุญ, กุศล           
บาป        
บาป, อกุศล
ผล
ผล, ผลไม้
รูป
รูป, รูปร่าง
สาธน
ความสำเร็จ
โสต
หู, เครื่องฟัง
ฆาน จมูก สุข ความสุข
ทุกฺข ความทุกข์ การณ เหตุ
ทาน การให้ สีล ศีล
ธน ทรัพย์ ฌาน ฌาน
มูล มูล, ราก, ราคา พล กำลัง
ชาล ข่าย, แห มงฺคล มงคล
นฬิน ดอกบัว ลิงฺค ลิงค์, เพศ
มุข หน้า, ปาก องฺค อวัยวะ, องค์
อมฺพุช ดอกบัว ปุลิน ทราย
ธญฺญ ข้าวเปลือก ชล น้ำ
ปท บท, นิพพาน หิรญฺญ เงิน
อมต นิพพาน ปทุม ดอกบัว
ปณฺณ ใบไม้, หนังสือ สุสาน สุสาน
วน ป่า อาวุธ อาวุธ
หทย หัวใจ, หทัยวัตถุ จีวร ผ้าจีวร
วตฺถ ผ้านุ่งห่ม กุล ตระกูล
อินฺทฺริย อินทรีย์ นยน นัยน์ตา
วทน หน้า ยาน ยานพาหนะ
อุทาน อุทาน ปาน น้ำดื่ม
โลห เหล็ก รตน แก้ว
ปีฐ เก้าอี้ อณฺฑ ไข่
มรณ ความตาย ภตฺต ข้าวสวย, อาหาร
ญาณ ญาณ, ปัญญา           อารมฺมณ   

อารมณ์

อรญฺญ ป่า ตาณ

นิพพาน

นคร เมือง ตีร

ฝั่งน้ำ

ฉตฺต ฉัตร, ร่ม, เห็ด อุทก

น้ำ

 

 

       (๒) นปุงสกลิงค์ อการันต์ กมฺมสัททปทมาลา (กรรม)

 

วิภัตติ          เอกวจนะ                  พหุวจนะ                     
ปฐมา กมฺมํ กมฺมา กมฺมานิ
อาลปนะ กมฺม กมฺมา กมฺมานิ
ทุติยา กมฺมํ กมฺเม กมฺมานิ
ตติยา กมฺมุนา กมฺมนา กมฺเมน       กมฺเมหิ กมฺเมภิ
จตุตถี กมฺมุโน กมฺมสฺส กมฺมานํ
ปัญจมี

กมฺมุนา กมฺมา กมฺมมฺหา

กมฺมสฺมา

กมฺเมหิ กมฺเมภิ
ฉัฏฐี

กมฺมสฺส

กมฺมานํ
สัตตมี

กมฺมนิ กมฺเม กมฺมมฺหิ

กมฺมสฺมึ

กมฺเมสุ

 

             ศัพท์จำแนกตาม

 

ถาม     กำลัง                อทฺธ       ทางไกล 

 

 

   นปุงสกลิงค์ อาการันต์ อสฺสทฺธาสัททปทมาลา (ไม่มีศรัทธา)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ               พหุวจนะ                 
ปฐมา อสฺสทฺธํ อสฺสทฺธา  อสฺสทฺธานิ    
              ที่เหลือจำแนกเหมือน จิตฺต ศัพท์

 

 

     นปุงสกลิงค์ อิการันต์ อฏฺฐิสัททปทมาลา (กระดูก, เมล็ด)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ               พหุวจนะ                       
ปฐมา อฏฺฐิ อฏฺฐี อฏฺฐีนิ
อาลปนะ อฏฺฐิ อฏฺฐี อฏฺฐีนิ
ทุติยา อฏฺฐึ อฏฺฐี อฏฺฐีนิ
ตติยา อฏฺฐินา อฏฺฐีหิ อฏฺฐีภิ อฏฺฐิหิ อฏฺฐิภิ 
จตุตถี อฏฺฐิโน อฏฺฐิสฺส อฏฺฐีนํ อฏฺฐินํ
ปัญจมี อฏฺฐินา อฏฺฐิมฺหา อฏฺฐิสฺมา   อฏฺฐีหิ อฏฺฐีภิ อฏฺฐิหิ อฏฺฐิภิ  
ฉัฏฐี อฏฺฐิโน อฏฺฐิสฺส อฏฺฐีนํ อฏฺฐินํ
สัตตมี อฏฺฐิมฺหิ อฏฺฐิสฺมึ อฏฺฐีสุ อฏฺฐิสุ

 

               ศัพท์จำแนกตาม

 

สตฺถิ          ขาอ่อน             ทธิ         นมส้ม

วาริ            น้ำ                   สปฺปิ       เนยใส

อกฺขิ, อจฺฉิ  นัยน์ตา            อจฺจิ       เปลวไฟ

 

 

     นปุงสกลิงค์ อีการันต์ สุขการีสัททปทมาลา (ทำให้มีความสุข)

 

วิภัตติ     
เอกวจนะ            
พหุวจนะ                 
ปฐมา
สุขการิ
สุขการี  สุขการีนิ        
อาลปนะ
สุขการิ
สุขการี  สุขการีนิ
ทุติยา สุขการึ สุขการี  สุขการีนิ
        ที่เหลือจำแนกเหมือน ทณฺฑี ศัพท์

 

 

    นปุงสกลิงค์ อุการันต์ อายุสัททปทมาลา (อายุ)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                พหุวจนะ                     
ปฐมา อายุ อายู อายูนิ
อาลปนะ อายุ อายู อายูนิ
ทุติยา อายุํ อายู อายูนิ
ตติยา อายุสา อายุนา อายูหิ อายูภิ อายุหิ อายุภิ 
จตุตถี อายุโน อายุสฺส อายูนํ อายุนํ
ปัญจมี อายุนา อายุมฺหา อายุสฺมา  อายูหิ อายูภิ อายุหิ อายุภิ  
ฉัฏฐี อายุโน อายุสฺส อายูนํ อายุนํ
สัตตมี อายุมฺหิ อายุสฺมึ อายูสุ อายุสุ

 

           ศัพท์จำแนกตาม


จกฺขุ    นัยน์ตา          ทารุ    ท่อนไม้

มธุ      น้ำผึ้ง             พินฺทุ   จุด, หยดน้ำ

อมฺพุ    น้ำ                ติปุ      ดีบุก

มตฺถุ    เนยเหลว       วตฺถุ    วัตถุ, เรื่อง

ชตุ      ครั่ง               อสฺสุ    น้ำตา

 

 

        นปุงสกลิงค์ อูการันต์  โคตฺรภูสัททปทมาลา  (จิตข้ามโคตร)

 

วิภัตติ        
เอกวจนะ                พหุวจนะ                
ปฐมา โคตฺรภุ โคตฺรภู โคตฺรภูนิ       
         ที่เหลือจำแนกเหมือน อภิภู ศัพท์

 

 

     นปุงสกลิงค์ โอการันต์ จิตฺตโคสัททปทมาลา  (วัวด่าง)

 

วิภัตติ      
เอกวจนะ                 
พหุวจนะ                      
ปฐมา จิตฺตคุ จิตฺตคู จิตฺตคูนิ
       ที่เหลือจำแนกเหมือน อายุ ศัพท์

สัพพนาม

 

    การจำแนกปุริสสัพพนาม และวิเสสนสัพพนาม มีรูปต่างกันในลิงค์ทั้ง ๓ ส่วน ตุมฺห และ อมฺห ศัพท์ มีรูปเหมือนกันทั้ง ๓ ลิงค์ ดังต่อไปนี้

 

            ปุริสสัพนาม

 

    (๑) ปุงลิงค์ อการันต์ ตสัททปทมาลา (เขา, นั้น)

 

วิภัตติ              เอกวจนะ              พหุวจนะ                 
ปฐมา โส เน เต
ทุติยา นํ ตํ เน เต
ตติยา เนน เตน เนหิ เนภิ เตหิ เตภิ
จตุตถี อสฺส นสฺส ตสฺส เนสํ เนสานํ เตสํ เตสานํ   
ปัญจมี

อสฺมา นมฺหา นสฺมา

ตมฺหา ตสฺมา    

เนหิ เนภิ เตหิ เตภิ
ฉัฏฐี

อสฺส นสฺส ตสฺส

เนสํ เนสานํ เตสํ เตสานํ
สัตตมี

อสฺมึ นมฺหิ นสฺมึ

ตมฺหิ ตสฺมึ

เนสุ เตสุ

 

 

    (๒) อิตถีลิงค์ อาการันต์ ตาสัททปทมาลา (เขา, เธอ, นั้น)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                           พหุวจนะ                           
ปฐมา สา นา ตา นาโย ตาโย
ทุติยา นํ ตํ นา ตา นาโย ตาโย
ตติยา นาย ตาย นาหิ นาภิ ตาหิ ตาภิ
จตุตถี

ติสฺสาย ตสฺสาย อสฺสาย

นสฺสาย ติสฺสา ตสฺสา อสฺสา

นสฺสา นาย ตาย

นาสํ นาสานํ ตาสํ ตาสานํ
ปัญจมี นาย ตาย นาหิ นาภิ ตาหิ ตาภิ
ฉัฏฐี

ติสฺสาย ตสฺสาย อสฺสาย

นสฺสาย ติสฺสา ตสฺสา อสฺสา

นสฺสา นาย ตาย

นาสํ นาสานํ ตาสํ ตาสานํ
สัตตมี

ติสฺสํ ตสฺสํ อสฺสํ นสฺสํ

นายํ ตายํ

นาสุ ตาสุ

 

 

    (๓) นปุงสกลิงค์ อการันต์ ตสัททปทมาลา (นั้น)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                  พหุวจนะ                     
ปฐมา นํ  ตํ นานิ  ตานิ
ทุติยา นํ  ตํ นานิ  ตานิ
              ที่เหลือจำแนกเหมือนปุงลิงค์

 

 

    อลิงค์ อการันต์ ตุมฺหสัททปทมาลา (ท่าน, เธอ, คุณ)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ                  พหุวจนะ                    
ปฐมา ตฺวํ ตุวํ ตุมฺเห โว
ทุติยา ตวํ ตํ ตฺวํ ตุวํ ตุมฺหากํ ตุมฺเห โว
ตติยา ตยา ตฺวยา เต ตุมฺเหหิ ตุมฺเหภิ โว
จตุตถี ตุมฺหํ ตว ตุยฺหํ เต ตุมฺหํ ตุมฺหากํ โว
ปัญจมี ตยา ตุมฺเหหิ ตุมฺเหภิ
ฉัฏฐี ตุมฺหํ ตว ตุยฺหํ เต ตุมฺหํ ตุมฺหากํ โว
สัตตมี ตยิ ตฺวยิ ตุมฺเหสุ

 

 

    อลิงค์ อการันต์ อมฺหสัททปทมาลา (ข้าพเจ้า, ผม, ดิฉัน, เรา)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                   พหุวจนะ                     
ปฐมา อหํ มยํ อมฺเห โน
ทุติยา มมํ มํ อมฺหากํ อมฺเห โน                 
ตติยา มยา เม อมฺเหหิ อมฺเหภิ โน
จตุตถี อมฺหํ มม มยฺหํ มมํ เม     อมฺหํ อมฺหากํ อสฺมากํ โน
ปัญจมี มยา อมฺเหหิ อมฺเหภิ
ฉัฏฐี อมฺหํ มม มยฺหํ มมํ เม อมฺหํ อมฺหากํ อสฺมากํ โน
สัตตมี มยิ อมฺเหสุ

วิเสสนสัพพนาม

 

    (๑) ปุงลิงค์ อการันต์ สพฺพสัททปทมาลา (ทั้งปวง)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ                   พหุวจนะ                        
ปฐมา สพฺโพ สพฺเพ
อาลปนะ สพฺพ สพฺพา สพฺเพ
ทุติยา สพฺพํ สพฺเพ
ตติยา สพฺเพน สพฺเพหิ สพฺเพภิ
จตุตถี สพฺพสฺส สพฺเพสํ สพฺเพสานํ
ปัญจมี สพฺพมฺหา สพฺพสฺมา สพฺเพหิ สพฺเพภิ
ฉัฏฐี สพฺพสฺส สพฺเพสํ สพฺเพสานํ
สัตตมี สพฺพมฺหิ สพฺพสมึ สพฺเพสุ

 

 

    (๒) อิตถีลิงค์ อาการันต์ สพฺพาสัททปทมาลา (ทั้งปวง)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ                  พหุวจนะ                        
ปฐมา สพฺพา สพฺพา สพฺพาโย
อาลปนะ สพฺเพ สพฺพา สพฺพาโย
ทุติยา สพฺพํ สพฺพา สพฺพาโย
ตติยา สพฺพาย สพฺพาหิ สพฺพาภิ
จตุตถี สพฺพสฺสา สพฺพาย สพฺพาสํ สพฺพาสานํ
ปัญจมี สพฺพาย สพฺพาหิ สพฺพาภิ
ฉัฏฐี สพฺพสฺสา สพฺพาย สพฺพาสํ สพฺพาสานํ
สัตตมี สพฺพสฺสํ สพฺพายํ สพฺพาสุ

 

 

    (๓) นปุงสกลิงค์ อการันต์ สพฺพสัททปทมาลา (ทั้งปวง)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ                    พหุวจนะ                      
ปฐมา สพฺพํ สพฺพานิ
อาลปนะ สพฺพ สพฺพานิ
ทุติยา สพฺพํ สพฺพานิ
                ที่เหลือเหมือนปุงลิงค์

 

               ศัพท์จำแนกตาม

 

กตร, กตม               ไหน อะไรบ้าง       อุภย    ทั้งสอง ทั้งคู่

อิตร                         นอกจากนี้            อญฺญ   อื่น

อญฺญตร, อญฺญตม  คนใดคนหนึ่ง        ย          ใด

 

 

    (๑) ปุงลิงค์ อการันต์ ปุพฺพสัททปทมาลา (ข้างหน้า, ก่อน)

 

วิภัตติ          เอกวจนะ                พหุวจนะ                  
ปฐมา ปุพฺโพ ปุพฺเพ ปุพฺพา
อาลปนะ ปุพฺพ ปุพฺเพ ปุพฺพา
ทุติยา ปุพฺพํ ปุพฺเพ
ตติยา ปุพฺเพน ปุพฺเพหิ ปุพฺเพภิ
จตุตถี ปุพฺพสฺส ปุพฺเพสํ ปุพฺพสานํ
ปัญจมี ปุพฺพา ปุพฺพมฺหา ปุพฺพสฺมา  ปุพฺเพหิ ปุพฺเพภิ
ฉัฏฐี ปุพฺพสฺส ปุพฺเพสํ ปุพฺเพสานํ
สัตตมี ปุพฺเพ ปุพฺพมฺหิ ปุพฺพสมึ ปุพฺเพสุ

 

 

    (๒) อิตถีลิงค์ อาการันต์ ปุพฺพาสัททปทมาลา (ข้างหน้า, ก่อน)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ            พหุวจนะ                     
ปฐมา ปุพฺพา ปุพฺพา ปุพฺพาโย
             ที่เหลือเหมือน สพฺพา ศัพท์

 

 

    (๓) นปุงสกลิงค์ อการันต์ ปุพฺพสัททปทมาลา (ข้างหน้า, ก่อน)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ           พหุวจนะ                     
ปฐมา ปุพพํ ปุพฺพานิ
อาลปนะ ปุพฺพ ปุพฺพานิ
ทุติยา ปุพฺพํ ปุพฺพานิ
              ที่เหลือจำแนกเหมือนปุงลิงค์

 

              ศัพท์จำแนกตาม

 

ปร         อื่น                     อปร    อื่นอีก

ทกฺขิณ  ข้างขวา, ทิศใต้   อุตฺตร  ข้างซ้าย, ทิศเหนือ

อธร       ข้างล่าง         

 

 

    (๑) ปุงลิงค์ อการันต์ เอตสัททปทมาลา (นั่น, นี่)

 

วิภัตติ           เอกวจนะ              พหุวจนะ                 
ปฐมา เอโส เอเต
ทุติยา เอตํ เอเต
            ที่เหลือเหมือน สพฺพ ศัทพ์ ปุงลิงค์

 

 

    (๒) อิตถีลิงค์ อาการันต์ เอตาสัททปทมาลา (นั่น, นี่)

 

วิภัตติ         เอกวจนะ                 พหุวจนะ                      
ปฐมา เอสา เอตา เอตาโย
ทุติยา เอตํ เอตา เอตาโย
ตติยา เอตาย เอตาหิ เอตาภิ
จตุตถี เอติสฺสาย เอติสฺสา เอตาย   เอตาสํ เอตาสานํ
ปัญจมี เอตาย เอตาหิ เอตาภิ
ฉัฏฐี เอติสฺสาย เอติสฺสน เอตาย เอตาสํ เอตาสานํ
สัตตมี เอติสฺสํ เอตายํ เอตาสุ

 

 

    (๓) นปุงสกลิงค์ อการันต์ เอตสัททปทมาลา (นั่น, นี่)

 

วิภัตติ          เอกวจนะ                       พหุวจนะ                           
ปฐมา เอตํ เอตานิ
ทุติยา เอตํ เอตานิ
                 ที่เหลือจำแนกเหมือนปุงลิงค์

 

 

    (๑) ปุงลิงค์ อการันต์ อิมสัททปทมาลา (นี้)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ                 พหุวจนะ                          
ปฐมา อยํ อิเม
ทุติยา อิมํ อิเม
ตติยา อิมินา อเนน เอหิ เอภิ อิเมหิ อิเมภิ
จตุตถี อิมสฺส อสฺส เอสํ เอสานํ อิเมสํ อิเมสานํ
ปัญจมี อิมมฺหา อิมสฺมา อสฺมา  เอหิ เอภิ อิเมหิ อิเมภิ
ฉัฏฐี อิมสฺส อสฺส เอสํ เอสานํ อิเมสํ อิเมสานํ  
สัตตมี อิมมฺหิ อิมสฺมึ อสฺมึ เอสุ อิเมสุ

 

 

    (๒) อิตถีลิงค์ อาการันต์ อิมาสัททปทมาลา (นี้)

 

วิภัตติ         เอกวจนะ                  พหุวจนะ                      
ปฐมา อยํ อิมา อิมาโย
ทุติยา อิมํ อิมา อิมาโย
ตติยา อิมาย อิมาหิ
จตุตถี

อสฺสาย อิมิสฺสาย อสฺสา

อิมิสฺสา อิมาย

อิมาสํ อิมาสานํ
ปัญจมี อิมาย อิมาหิ
ฉัฏฐี

อสฺสาย อิมิสฺสาย อสฺสา

อิมิสฺสา อิมาย

อิมาสํ อิมาสานํ
สัตตมี อิมิสฺสํ อสฺสํ อิมิสฺสา อิมายํ  อิมาสุ

 

 

    (๓) นปุงสกลิงค์ อการันต์ อิมสัททปทมาลา (นี้)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                พหุวจนะ                   
ปฐมา อิทํ อิมํ อิมานิ
ทุติยา อิทํ อิมํ อิมานิ
             ที่เหลือจำแนกเหมือนปุงลิงค์

 

 

    (๑) ปุงลิงค์ อุการันต์ อมุสัททปทมาลา (โน้น)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ                   พหุวจนะ                                 
ปฐมา อสุ อมุ อมู
ทุติยา อมุํ อมู
ตติยา อมุนา อมูหิ อมูภิ อมุหิ อมุภิ
จตุตถี อมุสฺส อทุสฺส อมูสํ อมูสานํ อมุสํ อมุสานํ
ปัญจมี อมุมฺหา อมุสฺมา อมูหิ อมูภิ อมุหิ อมุภิ
ฉัฏฐี อมุสฺส อทุสฺส อมูสํ อมูสานํ อมุสํ อมุสานํ
สัตตมี อมุมฺหิ อมุสฺมึ อมูสุ อมุสุ

 

 

    (๒) อิตถีลิงค์ อุการันต์ อมุสัททปทมาลา (โน้น)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ               พหุวจนะ                   
ปฐมา อสุ อมุ อมู อมุโย
ทุติยา อมุํ อมู อมุโย
ตติยา อมุยา อมูหิ อมูภิ
จตุตถี อมุสฺสา อมุยา อมูสํ อมูสานํ
ปัญจมี อมุยา อมูหิ อมูภิ
ฉัฏฐี อมุสฺสา อมุยา อมูสํ อมูสานํ
สัตตมี อมุสฺสํ อมุยํ อมูสุ

 

 

    (๓) นปุงสกลิงค์ อุการันต์ อมุสัททปทมาลา (โน้น)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ               พหุวจนะ                      
ปฐมา อทุํ อมู อมูนิ
ทุติยา อทุํ อมู อมูนิ
              ที่เหลือจำแนกเหมือนปุงลิงค์

กึ ศัพท์

 

จินฺโต กา โก จ กึสทฺโท    อปฺปกตฺถสฺส วาจโก

ยการยุตฺโต อาทิมฺหิ         สกลตฺถสฺส  วาจโก

อจินฺโต จ อยาทิ จ            ปุจฺฉาวจกสมฺมโต.

 

กึศัพท์ที่มี จิ อยู่ท้ายว่า โกจิ กาจิ กิญฺจิ เป็นต้น มีอรรถว่าน้อย

 

กึศัพท์ที่มี อยู่หน้า และมี จิ อยู่ท้ายว่า โย โกจิ    ยา กาจิ    ยํกิญฺจิ เป็นต้น มีอรรถว่าทั้งหมดทั้งสิ้น

 

กึศัพท์อย่างเดียวว่า โก  กา  กึ  เป็นต้น มีอรรถคำถาม

 

กึศัพท์ เมื่ออาเทศเป็น แล้ว จำแนกเหมือน สพฺพ ทั้ง ๓ ลิงค์  ต่างแต่ในนปุงสกลิงค์เอกะเท่านั้นที่มีรูปเป็น กึ

 

 

    (๑) ปุงลิงค์ กึสัทท-ยปุพพ-จิอันตปทมาลา (ทั้งหมดทั้งสิ้น)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                  พหุวจนะ                       
ปฐมา โย  โกจิ เย  เกจิ
ทุติยา ยํ  กญฺจิ เย  เกจิ
ตติยา เยน เกนจิ เยหิ เกหิจิ
จตุตถี ยสฺส กสฺสจิ เยสํ เกสญฺจิ
ปัญจมี ยสฺมา กสฺมาจิ เยหิ เกหิจิ
ฉัฏฐี ยสฺส กสฺสจิ เยสํ เกสญฺจิ
สัตตมี ยสฺมึ กสฺมิญฺจิ ยสฺมึ กิสฺมิญฺจิ   เยสุ เกสุจิ

 

 

    (๒) อิตถีลิงค์ กึสัทท-ยปุพพ-จิอันตปทมาลา (ทั้งหมดทั้งสิ้น)

 

วิภัตติ        เอกวจนะ                          พหุวจนะ                           
ปฐมา ยา กาจิ ยา กาจิ
ทุติยา ยํ กญฺจิ ยา กาจิ
ตติยา ยาย กายจิ ยาหิ กาหิจิ
จตุตถี ยสฺสา กสฺสาจิ ยาย กายจิ   ยาสํ กาสญฺจิ
ปัญจมี ยาย กายจิ ยาหิ กาหิจิ
ฉัฏฐี ยสฺสา กสฺสาจิ ยาย กายจิ ยาสํ กาสญฺจิ
สัตตมี ยสฺสํ กสฺสญฺจิ ยายํ กายญฺจิ   ยาสุ กาสุจิ

 

 

   (๓) นปุงสกลิงค์ กึสัทท-ยปุพพ-จิอันตปทมาลา (ทั้งหมดทั้งสิ้น)

 

วิภัตติ       เอกวจนะ                 พหุวจนะ                           
ปฐมา ยํ กิญฺจิ ยานิ กานิจิ
ทุติยา ยํ กิญฺจิ ยานิ กานิจิ
                 ที่เหลือเหมือนปุงลิงค์

 

 

 

                      สังขยาสัพพนาม

 

สังขยาสัพพนาม ๕ ตัว คือ เอก, อุภ, ทฺวิ, ติ, จตุ จะแสดงวิธีการจำแนกในบทที่ ๑๐

<<<                   >>>